หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
เพื่อโอกาสแห่งศรัทธาบวชพระในพรรษา ๓ โครงการ
ยังเป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วง ที่การบวชพระช่วงเข้าพรรษาในแต่ละวัดทั่วประเทศมีจำนวนน้อย หลายวัดมีเพียงเพื่อให้ครบ ๕ รูป ตามจำนวนในพุทธบัญญัติที่จะสามารถรับกองกฐินของศรัทธาญาติโยมที่จะมาถวายในช่วงออกพรรษาเท่านั้น
พิธีถวายผ้าป่ากองบุญรักษาพระภิกษุ - สามเณรอาพาธ เนื่องในวันธรรมชัย เสาร์ที่ 27 สิงหาคม
พิธีถวายผ้าป่ากองบุญรักษาพระภิกษุ - สามเณรอาพาธ เนื่องในวันธรรมชัย วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2559 ณ หน้าบ้านคุณยายฯ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
ประวัติโดยสังเขป สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙)
ชาติภูมิสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดปากน้ำองค์ปัจจุบัน
เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายอวดอุตริมนุสธรรมหรือไม่
เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย อวดอุตริมนุสธรรมหรือไม่ ในกรณีที่บอกว่าสตีฟ จอบส์ หรือคนนั้นคนนี้ตายแล้วไปอยู่ที่ไหน? ชาติที่เเล้วเป็นอะไร? หรือไปทำกรรมอะไรมา?
แถลงข่าวท่าทีของวัดพระธรรมกายต่อกรณีที่อัยการรับสำนวนคดีจากกรมสอบสวนคดีพิเศษ
กรณีที่กรมส
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
อักษรธรรมล้านนา อักษราจารพุทธธรรม
ย้อนไปนานนับพันปี บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา มีพื้นที่ครอบคลุมหลายจังหวัด อาทิ เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ตลอดจนเขตสิบสองปันนาของจีนและบางส่วนของพม่าและลาว ผู้คนในถิ่นนี้มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง อักษรที่นิยมใช้เขียนวรรณคดีทางโลก คือ อักษรฝักขาม ส่วนอักษรที่นิยมใช้บันทึกหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา คือ อักษรธรรม จึงเรียกอักษรธรรมที่ใช้ในอาณาจักรล้านนาว่า “อักษรธรรมล้านนา”
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว